[x] ปิดหน้าต่างนี้
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป   
ค้นหา   
บุคลากร
นายสุรศักดิ์ ใจคำ
นายกองค์การบริหารส่วนตำบล
0810358011
องค์ความรู้ในองค์กร
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร

  พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร  
       ทางราชการ 
        

รูปภาพ
IMG_9158.JPG
 
IMG_9107.JPG
 
หน่วยตรวจสอบภายใน
แผนพัฒนาท้องถิ่น
งบประมาณรายจ่ายประจำปี
แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
แผนดำเนินงานประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
รายงานผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
การบริหารเงินงบประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
►แผนการใช้จ่ายเงิน
รายงานกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
►แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณ
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
►รายการการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
แผนการจัดเก็บภาษี
ข้อมูลการปฏิบัติงาน
การให้บริการ
-คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการฯ
-ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
-รายงานผลสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
กฎหมายและระเบียบ
แผนปฎิบัติป้องกันการทุจริต
►แผนปฏิบัติป้องกันการทุจริต
นโยบายไม่รับของขวัญ(No Gift Policy)
การสร้างวัฒนธรรม (No Gift Policy)
►รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร 
สื่อรณรงค์ต่อต้านการทุจริต 
แนวทางการปฏิบัติกาจัดการเรื่องร้องเรียนการ ทุจริตและประพฤมิชอบ  
►ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ  
►มาตรการส่งเสริมคุณธรรม   และความโปร่งใสในหน่วยงาน  
รายงานผลการดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน 
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตฯ
รายงานกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปี รอบ 6 เดือน
►รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี 
รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด
เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
       การเสริมสร้าง      
    วัฒนธรรมองค์กร    
มาตราฐานทางจริยธรรม
►    ประมวลจริยธรรม     
► ประมวลจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
► การขับเคลื่อนจริยธรรม
► การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
  
บทบาทและอำนาจหน้าที่  
 

บทบาทและอำนาจหน้าที่

 

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล
พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ และที่แก้ไข เพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๖๒

     อำนาจหน้าที่ ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ และที่แกไข เพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๖๒

๑. มีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (มาตรา ๖๖)
๒. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหาร ส่วนตำบลดังต่อไปนี้ (มาตรา ๖๗) ดังนี้
    ๑) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
       (๑.๑) รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย การดูแลการจราจร และส่งเสริมสนับสนุน หน่วยงานอื่นในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว
    ๒) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะรวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
    ๓) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
    ๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    ๕) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
    ๖) คุ้มครองดูแลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
    ๗) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
    ๘) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตาม ความจำเป็นและสมควร

๓. ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายองค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจกรรมในเขตองค์การบริหาร ส่วนตำบลดังต่อไปนี้ (มาตรา ๖๘) ดังนี้
    ๑) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
    ๒) ให้มีการบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
    ๓) ให้มีการบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
    ๔) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุมการกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ
    ๕ )ให้มีการส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
    ๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
    ๗) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
    ๘) การคุ้มครองดูแล และรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
    ๙) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
    ๑๐) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
    ๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
    ๑๒) การท่องเที่ยว
    ๑๓) การผังเมือง

๔. การดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประซาซนในตำบลต้องแจ้งให้ อบต. ทราบล่วงหน้า ตามสมควร หาก อบต. มีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้นำความเห็นของ อบต. ไปประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย (มาตรา ๖๙)

๕. การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ของ อบต. ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุฃฃองประซาซน โดยใช้ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประซาซนในการจัดทำ แผนพัฒนา อบต. การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการ นั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด (มาตรา ๖๙/๑)

๖. มีสิทธิได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราซการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของ ทางราซการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราซการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับ การรักษา ความมั่นคงแห่งซาติ (มาตรา ๗๐)

๗. ออกข้อบัญญัติ อบต. เพื่อใช้บังคับในตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ของ อบต. ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝึนด้วยก็ได้ แต่มิให้ กำหนดโทษปรับเกิน ๑,๐๐๐ บาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น (มาตรา ๗๑)

๘. อาจขอให้ข้าราซการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ของหน่วยราซการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราซการส่วนท้องถิ่นไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการของ อบต. เป็นการ ชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม (มาตรา ๗๒)

๙. อาจทำกิจการนอกเขต อบต. หรือร่วมกับสภาตำบล อบต. อบจ. หรือหน่วยการบริหาร ราซการส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ (มาตรา ๗๓) อำนาจหน้าที่ ตามพระราซบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังนี้
    ๑. มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์องประซาซนใน ท้องถิ่นของตนเอง (มาตรา ๑๖) ดังนี้
        (๑) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
        (๒) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทาง'นา และทางระบาย,นา
        (๓) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ
        (๔) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ
        (๕) การสาธารณูปการ
        (๖) การส่งเสริม การ'ฝึก และประกอบอาชีพ
        (๗) การพาณิซย์ และการส่งเสริมการลงทุน
        (๘) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
        (๙) การจัดการศึกษา
        (๑๐) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนซรา และผู้ด้อยโอกาส
        (๑๑) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
        (๑๒) การปรับปรุงแหล่งขุมซนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
        (๑๓) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
        (๑๔) การส่งเสริมกีฬา
        (๑๕) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประซาซน
        (๑๖) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
        (๑๗) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
        (๑๘) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย
        (๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
        (๒๐) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน
        (๒๑) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์
        (๒๒) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์
        (๒๓) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่น ๆ
        (๒๔) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากปาไม้ ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
        (๒๔) การผังเมือง
        (๒๖) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
        (๒๗) การดูแลรักษาที่สาธารณะ
        (๒๘) การควบคุมอาคาร
        (๒๙) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
        (๓๐) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการบีองกันและรักษาความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
        (๓๑) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประซาซนในห้องที่ตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
    ๒. อำนาจหน้าที่ของ อบต. ตามข้อ ๑ ต้องดำเนินการตาม “แผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนและ การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”

อำนาจหน้าที่ของส่วนราชการองค์การบริหารส่วนตำบลแม่คะตวน
อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน

********************************

เพื่อให้องค์การบริหารส่วนตำบลแม่คะตวน มีแนวทางในการนำหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อนำไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลแม่คะตวนจึงได้นำแนวทางการปฏิบัติงานราชการตามหลักเกณฑ์การ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ทั้งนี้เพื่อให้การปฏิบัติราชการเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ กำหนดให้หน่วยงานมีการ บริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจชองรัฐโดยกำหนดอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ ดังต่อไปนี้

๑. การบริหารภารกิจเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน

หลักเกณฑ์เป็นความโปร่งใสในการบริหารงานชององค์กรปกครองส่วนห้องถิ่น ตามหลัก ธรรมาภิบาล โดยจะต้องเปิดโอกาสให้ประซาซนสามารถเช้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ตลอดจนสามารถติดตาม และตรวจสอบการดำเนินงานชองหน่วยงานได้ โดยได้กำหนดแนวทางข้อตกลงในการปฏิบัติราชการชอง หน่วยงาน ดังนี้

๑.๑ เปิดเผยข้อมูลการปฏิบัติงานให้ประซาซนสามารถติดตามตรวจสอบได้ตาม พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารชองราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐

  • การเตรียมให้บริการข้อมูลข่าวสาร
  • การจัดให้มีช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารชองหน่วยงาน
  • จัดให้มีการบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสารเพื่อประซาสัมพันธ์ให้ประซาซนได้ทราบ และดีรับรู้จากส่วนราชการหรือจากหน่วยงานอื่นๆ
  • จัดให้มีขั้นตอนการให้บริการข้อมูลข่าวสาร เข่น การเขียนใบคำร้อง และมี เจ้าหน้าที่รับผิดชอบดูแลคำร้องต่างๆ

๑.๒ จัดวางระบบการควบคุมภายในให้มีประสิทธิภาพได้มาตรฐานตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔

  • จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดวางระบบควบคุมภายในชองหน่วยงานหลัก

และหน่วยงานย่อย

  • จัดวางระบบการควบคุมภายในชองแต่ละส่วนราชการ
  • จัดทำคำสั่งแบ่งงานภายในชองส่วนราชการ แบ่งแยกหน้าที่การทำงานและ

ภารกิจซัดเจน

  • จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดวางระบบควบคุมภายในชองสำนัก/ กอง
  • ดำเนินการจัดวางระบบควบคุมภายในตามระเบียบฯ ข้อ ๔ และติดตาม ประเมินระบบการควบคุมภายในตามระเบียบฯ ข้อ ๖

                                - ให้หน่วยงานวิเคราะห์ประเมินความเพียงพอชองระบบการควบคุมภายในตาม มาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกำหนด

๑.๓ ให้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายประจำปี และการจัดซื้อจัดจ้าง เพื่อให้ประซาซนสามารถตรวจสอบได้โดยสะดวก ผ่านซ่องทางการสื่อสารต่างๆ ซองหน่วยงาน

๑.๔ การดำเนินงานต่างๆ จัดให้มีกลไกตรวจสอบการดำเนินงานเพื่อให้เกิดความโปร่งใส

๑.๕ จัดให้มีซ่องทางในการรับพิงความคิดเห็นซองประชาชนตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับพิงความคิดเห็นซองประซาซน พ.ศ. ๒๕๔๘

๒. การบริหารงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานซององค์กรปกครองส่วนห้องถิ่น โดยมุ่งให้มีการ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ เกิดความคุ้มค่า โดยได้กำหนดแนวทางข้อตกลงในการปฏิบัติราชการซอง หน่วยงาน ดังนี้

๒.๑ การจัดทำแผนพัฒนาซององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาซององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ แกไซเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๙

๒.๒ ให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนพัฒนา และน่าผลที่ได้มา ทบทวนปรับปรุงแผนพัฒนาท้องถิ่น

๒.๓ ให้น่าแผนพัฒนาสามปีมาใช้เป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี และงบประมาณรายจ่าย (เพิ่มเติม) ซองหน่วยงาน

๒.๔ ให้มีการจัดทำข้อตกลงการปฏิบัติราชการระหว่างข้าราชการหรือพนักงานเทศบาล กับผู้บริหาร โดยให้ผู้บริหารทำหน้าที่กำกับการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย

๒.๕ จัดให้มีการบูรณาการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ

ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ

๒.๖ จัดให้มีการพัฒนาความรู้ในหน่วยงาน โดยให้มีระบบข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้ง พัฒนาความรู้และความสามารถซองข้าราชการให้มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อให้มีลักษณะเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน

๓. การบริหารภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเซิงภารกิจ

๓.๑ กำหนดเป้า,หมายแผนการดำเนินงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จซองงาน หรือโครงการ และงบประมาณที่ใช้ ให้มีการเผยแพร่ให้ได้ทราบโดยทั่วกัน

๓.๒ การจัดซื้อหรือจัดจ้างให้มีการดำเนินการโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรมพิจารณาถึง ความคุ้มค่า คุณภาพ การดูแลรักษาประโยชน์และผลเสียต่อประซาซนเป็นสำคัญ

๓.๓ การดำเนินการให้เรื่องที่หน่วยงานต้องอนุญาต อนุมัติ หรือเห็นชอบให้ ดำเนินการแจ้งผลการพิจารณาให้แก่ผู้ยื่นดำขอทราบภายใน ๑๕ วัน

๓.๔ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนซองประชาชนและเรื่องต่างๆ ที่กำหนดให้ หน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบ จัดให้มีการมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการแก่ไซติดตามผล และรายงานผล การแก้ไปปัญหาให้ประชาชนที่มาติดต่อได้รับทราบ

๔. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน

การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ ประซาซนสามารถดำเนินการให้บังเกิดผลสำเร็จไดโดยเร็ว เกิดประโยชน์กับประซาซนโดยตรงเพื่อให้ประซาซน ได้รับการบริการที่ดีขึ้น โดยได้กำหนดแนวทางข้อตกลงในการปฏิบัติราชการของหน่วยงานได้ ดังนี้

๔.๑ ให้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจ การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ ให้แก่ผู้ที่มี หน้าที่รับผิดชอบการดำเนินการในเรื่องนั้นโดยตรง เซ่น การมอบอำนาจ การแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทน เป็นต้น

๔.๒ การน่าเทคโนโลยีสารสนเทศมาไซในการให้บริการประซาซน เพื่อให้เกิดความ รวดเร็วในการทำงาน เซ่น เกี่ยวกับข้อมูล การส่งข่าวสาร การสืบด้นหาต่างๆ เป็นต้น

๔.๓ การจัดการบริการสาธารณะแก่ประซาซน โดยให้หน่วยงานจัดทำแผนภูมิขั้นตอน และระยะเวลาการดำเนินงาน รวมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนและประซาสัมพันธ์ให้ ประซาซนได้ทราบ

๕. การปรับปรุงภารกิจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

๕.๑ ให้มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกบทบาทภารกิจตาม ความจำเป็นให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น เซ่น การทบทวนแผนพัฒนาตำบลและชุมซน เป็นต้น

๕.๒ การพิจารณาเพื่อจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้น่าแผนพัฒนาสามปีมาเป็น กรอบในการดำเนินการจัดทำ ตามกฎหมายระเบียบที่เกี่ยวข้อง

๖. การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน

ซึ่งในเรื่องดังกล่าวเป็นงานด้านการบริการตามกระบวนงานที่กฎหมายได้กำหนดให้เป็น หน้าที่ในความรับผิดชอบของหน่วยงาน โดยให้คำนึงถึงประซาซนเป็นศูนย์กลาง จัดให้มีการบริการที่ดีและมี คุณภาพ การปฏิบัติงานที่รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการของประซาซนได้ ให้ประซาซนได้แสดงความเห็น หรือความพึงพอใจต่อการบริการ เพื่อน่าไปปรับปรุง โดยได้กำหนดแนวทางข้อตกลงในการปฏิบัติราชการของ หน่วยงาน ดังนี้

๖.๑ การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานในแต่ละงาน ตามกระบวนงานบริการหลักตามภารกิจที่ได้กำหนดระยะเวลาเสร็จไว้แล้ว มีจำนวน ๑๗ กระบวน (ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท. ๐๘๑๐.๓/ ว ๑๐๗๙๓ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๔๔๖ และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท. ๐๘๑๐.๓/ว ๔๔๒๒ ลงวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๔๔๖)

๖.๒ จัดทำช่องทางในการให้ประซาซนได้ร้องเรียน/ ร้องทุกข์ หรือแสดงข้อคิดเห็นให้ข้อเสนอแนะ

๖.๓ จัดทำช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประซาซน ในการติดต่อสอบถามข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน เซ่น จัดทำเว็บไซต์ของเทศบาล เป็นต้น

๗. การประเมินผลการปฏิบัติงาน

เป็นการวัดผลการบริหารและการปฏิบัติราชการ ว่ามีผลสัมฤทธิ์ตรงตามเป้าหมายภารกิจ ขององค์กรหรือไม่ โดยจัดให้มีบุคคลภายนอกร่วมเป็นคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อน่าผลที่ได้จากการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงแก้ไข ทั้งนี้การประเมินผลการปฏิบัติงานอาจเป็นตัวชี้วัดการปฏิบัติ ราชการของหน่วยงาน และบุคลากรของหน่วยงาน โดยได้กำหนดแนวทางข้อตกลงในการปฏิบัติราชการของ หน่วยงาน ดังนี้                                   

๗.๑ การประเมินองค์กรให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลตามหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยมีบุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ ทำหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการโดยพิจารณาแยกเป็น ๔ มิติ ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพของบริการ ความคุ้มค่าของ ภารกิจ และความพิงพอใจของประซาซนผู้รับบริการ

  ๗.๒ การประเมินบุคคล โดยคำนึงถึงผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ หรือพนักงานในตำแหน่งที่ปฏิบัติ

อำนาจหน้าที่ส่วนราชการ(เพิ่มเติมคลิก)